crone-corkill.com

แปรรูป ผัก ไชยา

นายจ้าง ยื่น ประกัน สังคม

Thu, 24 Nov 2022 18:24:15 +0000

ทุกท่านที่ประกอบธุรกิจคงจะทราบดีกว่า นายจ้างนั้นมีหน้าที่นำส่งเงินสมทบประกันสังคม ทั้งในส่วนที่หักจากลูกจ้างไว้และในส่วนที่กิจการสมทบเข้าไป ให้แก่สำนักงานประกันสังคมเป็นประจำทุกๆ เดือน บ่อยครั้งที่ผู้ประกอบการคำนวณเงินประกันสังคมผิดและนำส่งเงินประกันสังคมเกินไป ซึ่งอาจจะเกิดจากการคำนวณผิดพลาดเอง หรือลืมปรับลดอัตราสมทบเงินประกันสังคมตามมติรัฐมนตรีในช่วง COVID-19 เงินที่เรานำส่งเกินไปนั้นจะขอคืนจากสำนักงานประกันสังคมได้หรือไม่ และมีขั้นตอนอย่างไร วันนี้เราจะมาไขข้อข้อใจเรื่องนี้กันค่ะ ส่งเงินสมทบประกันสังคมเกิน ขอคืนได้หรือไม่ คำตอบคือ สามารถขอคืนได้ ตาม พระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ. 2533 ที่บัญญัติว่า "ในกรณีที่นายจ้างนำเงินสมทบในส่วนของผู้ประกันตน หรือเงินสมทบในส่วนของนายจ้างส่งให้แก่สำนักงานเกินจำนวนที่ต้องชำระ ให้นายจ้างหรือผู้ประกันตนยื่นคำร้องขอรับเงินในส่วนที่เกินคืนได้ตามระเบียบที่เลขาธิการกำหนด" ระเบียบสำนักงานประกันสังคม ว่าด้วยการขอรับเงินสมทบที่นำส่งไว้เกินจำนวนที่ต้องชำระคืน พ.

  1. ลาออกจากงาน ประกันสังคม ต้องทำอย่างไร - Google Analytics Thailand
  2. PNK Accounting | ไม่ยื่นประกันสังคมให้พนักงาน ผิดกฎหมาย หรือไม่
  3. ส่งประกันสังคมให้แก่ลูกจ้าง สำหรับนายจ้างมือใหม่ | อบรมบัญชี, เก็บชั่วโมง CPD
  4. ยื่นประกันสังคมออนไลน์ ด้วยตัวเอง ง่ายครบจบที่เดียว - SMEMOVE
  5. วันนี้! เตือนนายจ้าง 'ประกันสังคม' ม.33 รีบยื่นขอรับ 'เงินเยียวยา' ผ่าน e-service
  6. 3 วิธีแจ้งเข้าประกันสังคมแบบง่ายๆ สำหรับ HR มือใหม่ | Cigna
  7. นายจ้างมีหน้าที่อย่างไร...ในการประกันสังคม

ลาออกจากงาน ประกันสังคม ต้องทำอย่างไร - Google Analytics Thailand

เงินสมทบของงวดค่าจ้างเดือนตุลาคม 2558 เป็นต้นไป ให้นายจ้างนำส่งภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดจากเดือนที่มีการหักเงินสมทบไว้ หากนำส่งเงินสมทบล่าช้ากว่ากำหนดต้องจ่ายเงินเพิ่มร้อยละ 2 ต่อเดือน เช่น เงินสมทบของงวดค่าจ้างเดือนตุลาคม 2558 - นำส่งเงินสมทบวันที่ 30 พฤศจิกายน 2558 คิดเงินเพิ่ม 15 วัน - นำส่งเงินสมทบวันที่ 18 ธันวาคม 2558 คิดเงินเพิ่ม 1 เดือน 3 วัน นายโกวิท กล่าวอีกว่า สำนักงานประกันสังคม ยังได้เพิ่มช่องทางอำนวยความสะดวก นายจ้างสามารถยื่นแบบส่งเงินสมทบ (สปส. 1-10) ชำระเงินสมทบได้ที่เคาน์เตอร์ ธนาคารกรุงไทย / ธนาคารกรุงศรีอยุธยา / ธนาคารธนชาต โดยไม่เสียค่าธรรมเนียม ส่วนการจ่ายเงินสมทบผ่านระบบ e-payment ผ่าน 7 ธนาคาร ประกอบด้วย ธนาคารกรุงไทย / ธนาคารกรุงศรีอยุธยา / ธนาคารกสิกรไทย / ธนาคารไทยพาณิชย์ / ธนาคารซิตี้แบงก์ / ธนาคารซูมิโตโม และธนาคารมิซูโฮ ชำระค่าธรรมเนียมตามอัตราของธนาคาร รองเลขาธิการสำนักงานประกันสังคม เปิดเผยด้วยว่า นายจ้างทุกท่านสามารถดูรายละเอียดแนวปฏิบัติการนำส่งเงินสมทบได้ที่ หรือโทร. สายด่วน 1506 ให้บริการทุกวันตลอด 24 ชั่วโมง นายจ้าง/ผู้ประกันตน สามารถติดตามข่าวสารสาระดีจากสำนักงานประกันสังคม ได้ที่ หรือ (พื้นที่ประชาสัมพันธ์)

PNK Accounting | ไม่ยื่นประกันสังคมให้พนักงาน ผิดกฎหมาย หรือไม่

6-09) สำหรับแจ้งต่อประกันสังคมในกรณีที่พ้นสภาพการเป็นลูกจ้างในสถานประกอบการแล้ว กิจการอะไรบ้างที่ไม่ต้องยื่นประกันสังคมให้ลูกจ้าง?

ส่งประกันสังคมให้แก่ลูกจ้าง สำหรับนายจ้างมือใหม่ | อบรมบัญชี, เก็บชั่วโมง CPD

HIGHLIGHTS นายจ้างที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป ต้องขึ้นทะเบียนนายจ้างพร้อมกับขึ้นทะเบียนลูกจ้าง เป็นผู้ประกันตนภายใน 30 วัน และเมื่อมีการรับลูกจ้างใหม่เพิ่มขึ้นต้องแจ้งขึ้นทะเบียนลูกจ้างใหม่ภายใน 30 วัน เช่นกัน โดยการส่งประกันสังคมให้กับลูกจ้าง แบ่งออกเป็น 2 ประเภทตามลักษณะการทำงานหรือตามข้อตกลงระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง คือ 1. แบบขึ้นทะเบียนนายจ้าง (สปส. 1-01) และ 2. 1-03)สำหรับผู้ที่ไม่เคยขึ้นทะเบียนผู้ประกันตนมาก่อน และเมื่อเมื่อยื่นเอกสารต่างๆและข้อมูลเข้าระบบเป็นที่เรียบร้อยแล้ว จากนั้นทุกเดือนนายจ้างมีหน้าที่ส่งเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคม โดยคำนวณจากอัตราร้อยละ 5% ของค่าจ้าง และจ่ายสมทบอีก 1 เท่า นำส่งเงินให้ประกันสังคมด้วยแบบ (สปส. 1-10) ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไปครับ นายจ้างที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป ต้องขึ้นทะเบียนนายจ้างพร้อมกับขึ้นทะเบียนลูกจ้าง เป็นผู้ประกันตนภายใน 30 วัน และเมื่อมีการรับลูกจ้างใหม่เพิ่มขึ้นต้องแจ้งขึ้นทะเบียนลูกจ้างใหม่ภายใน 30 วัน เช่นกัน จากนั้นทุกเดือนนายจ้างมีหน้าที่ส่งเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคม โดยคำนวณจากอัตราร้อยละ 5% ของค่าจ้าง และจ่ายสมทบอีก 1 เท่า นำส่งเงินให้ประกันสังคมด้วยแบบ (สปส.

ยื่นประกันสังคมออนไลน์ ด้วยตัวเอง ง่ายครบจบที่เดียว - SMEMOVE

1-03 โดยจำเป็นจะต้องใช้หลักฐานด้วยกัน ดังนี้ แบบฟอร์มขึ้นทะเบียนผู้ประกันตน (สปส. 1-03) พร้อมกรอกข้อมูลให้เรียบร้อย บัตรประจำตัวประชาชนหรือหลักฐานอื่นๆ ที่สามารถแสดงตัวตนได้ ใบอนุญาตทำงาน สำเนาหนังสือเดินทาง หรือใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว ในกรณีผู้ประกันตนไม่ใช่ชาวไทย ลูกจ้างที่เคยยื่นแบบขึ้นทะเบียนผู้ประกันตนมาแล้วให้แจ้งการขึ้นทะเบียนผู้ประกันตน (สปส.

วันนี้! เตือนนายจ้าง 'ประกันสังคม' ม.33 รีบยื่นขอรับ 'เงินเยียวยา' ผ่าน e-service

  1. นายจ้าง ยื่น ประกัน สังคม
  2. วงกางเกง - สัญญาณ(ดาน)ไม่ดี | เพลง เงา วง กางเกง 4shข้อมูลที่เกี่ยวข้องที่สมบูรณ์ที่สุด
  3. 3 วิธีแจ้งเข้าประกันสังคมแบบง่ายๆ สำหรับ HR มือใหม่ | Cigna
  4. ตาราง hbo hd video
  5. อบรม ขาย ของ ebay uk
  6. ที่พัก นครนายก บ้านนา
  7. เช็คสถานะเที่ยวบิน FD409 - ไทยแอร์เอเชีย - จาก หาดใหญ่ ไป เชียงใหม่
  8. ตัวอย่าง การ อนุมาน
  9. รวมขนาด Facebook video ads ที่แนะนำ รับปี 2020 – DIGITAL MARKETING CONSULTANCY
  10. ก้ามเบรคหมอบ SORA 2017
  11. วันนี้! เตือนนายจ้าง 'ประกันสังคม' ม.33 รีบยื่นขอรับ 'เงินเยียวยา' ผ่าน e-service

3 วิธีแจ้งเข้าประกันสังคมแบบง่ายๆ สำหรับ HR มือใหม่ | Cigna

นายจ้างมีหน้าที่อย่างไร...ในการประกันสังคม

5% ตามตัวอย่างเงินบำนาญที่ผมทำให้ดูนั้น จะไม่ได้คูณกับ 15, 000 แล้ว แต่จะคูณ 4, 800 แทน ซวยสิครับ แทนที่จะได้บำนาญ 4, 125 บาทต่อเดือน(ตามตัวอย่างการคำนวณ) จะเหลือเพียง 1, 320 บาทต่อเดือนเท่านั้น! โอ้วโน่วววว อันนี้น่ากลัวมาก ใครไม่เข้าใจนี่พลาดไปแย่เลยละครับ ดังนั้นผมก็เลยไม่ยื่นประกันตนเองไงครับ เพราะผมเข้าข่ายได้เงินเป็นบำนาญไปแล้วคือส่งครบ 15 ปี – -" (แก่ชิป) แต่ถ้าใครคิดว่าลาออกมาสักปีหนึ่งแล้วจะกลับไปทำงานประจำ แบบนี้จะยื่นประกันตนเองก็ได้นะครับ ก็จะได้ใช้สิทธิ์ได้อยู่ เพราะการที่เรายื่นผสมมาตรา 33 และ 39 ก็ทำได้ครับ ขอแค่ว่า 60 เดือนสุดท้ายเป็นการยื่นแบบมาตรา 33 ก็จะได้สิทธ์ที่ฐานเงินเดือนคำนวน 15, 000 (เงินเดือนเฉลี่ยย้อนหลัง 60 เดือนมากกว่า 15, 000) 3.

ประกันสังคมอนุมัติจ่าย โอนเงินเข้าบัญชี เมื่อสำนักงานประกันสังคมได้รับข้อมูลของนายจ้างถูกต้องครบถ้วนจะทำการอนุมัติจ่าย รอบแรกเงินเข้าบัญชี ภายใน 5 วันทำการ ส่วนที่เหลือจะโอนเข้าบัญชีทุกสิ้นเดือนจนครบ กรณีเงินไม่เข้าบัญชี สามารถติดต่อสอบถาม โทร. สายด่วน 1506 ตลอด 24 ชั่วโมง ทั้งนี้ นายจ้างที่ยังไม่ได้สมัครใช้งาน e-Service ของสำนักงานประกันสังคม สามารถสมัครใช้งานในเว็บไซต์สำนักงานประกันสังคมก่อน จึงจะยื่นผ่านระบบได้ หากไม่สามารถดำเนินการได้ ให้ติดต่อสายด่วน 1506 หรือสำนักงานประกันสังคมในพื้นที่ที่นายจ้างตั้งอยู่ หากมีข้อสงสัยสอบถามเพิ่มเติมได้ที่สายด่วนประกันสังคม 1506

1. แจ้งเข้า – แจ้งออก ล่าช้า นายจ้างทำการแจ้งขึ้นทะเบียนให้กับลูกจ้างล่าช้า เกินกว่า 30 วันหลังจากรับเข้าทำงาน มีผลทำให้ประกันสังคมอาจมีการจ่ายเงินชดเชยการว่างงานเกินสิทธิที่ผู้ประกันตนควรได้รับในกรณีที่ลูกจ้างยังอยู่ในระหว่างการขอรับสิทธิ์ชดเชยรายได้จากการว่างงาน นายจ้างจะมีความผิดตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ. 2533 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือนหรือปรับไม่เกิน 20, 000 บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ แจ้งนำชื่อของลูกจ้างออกล่าช้า เกินวันที่ 15 ของเดือนถัดไป ทำให้มีผลทำให้ลูกจ้างอาจได้รับความเดือดร้อน เนื่องจากไม่สามารถยื่นขอรับสิทธิชดเชยรายได้จากการว่างงานได้ เพราะในระบบประกันสังคมยังอยู่ในสถานะของลูกจ้างในสถานประกอบการ นายจ้างจะมีความผิดตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. 2533 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือนหรือปรับไม่เกิน 20, 000 บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ 2. ไม่นำส่ง เงินสมทบประกันสังคม นายจ้างไม่จ่ายเงินสมทบประกันสังคมให้กับลูกจ้าง นายจ้างจะมีความผิดตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.

การดูแลพนักงานให้ได้รับสิทธิพื้นฐานตามกฏหมายเป็นหนึ่งในหน้าที่สำคัญของ HR ซึ่งจำเป็นจะต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด มิฉะนั้น อาจกลายเป็นความผิดเนื่องจากไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนดของกฏหมายแรงงานได้ โดยเฉพาะการแจ้งรายชื่อพนักงานเข้าประกันสังคม ซึ่งนับเป็นเรื่องพื้นฐานที่ HR ทุกคนควรทราบ! บทความนี้ Cigna จะมาแนะนำวิธี แจ้งเข้าประกันสังคม แบบง่ายๆ สำหรับ HR มือใหม่ เพื่อสิทธิที่พึงมีสำหรับพนักงานภายในองค์กร! วิธีแจ้งเข้าประกันสังคมต้องทำอย่างไรบ้าง? วิธีแจ้งเข้าประกันสังคม ในปัจจุบันนั้นไม่ยุ่งยากเหมือนกับสมัยก่อนอีกต่อไป เนื่องจากทาง HR สามารถดำเนินการผ่านช่องทางออนไลน์ได้อย่างรวดเร็ว โดยมีวิธีการดำเนินการด้วยกัน ดังนี้ ลงทะเบียนขอทำธุรกรรมกับสำนักงานประกันสังคมผ่านอินเทอร์เน็ต อันดับแรกต้องลงทะเบียนเพื่อขอทำธุรกรรมกับสำนักงานประกันสังคมผ่านอินเทอร์เน็ตเสียก่อน โดยมีวิธีการลงทะเบียน ดังนี้ เข้าเว็บไซต์ สำนักงานประกันสังคม เลือกหัวข้อ "สถานประกอบการ" เลือก "ขอทำธุรกรรมผ่านอินเทอร์เน็ต" กรอกข้อมูลให้ครบถ้วนเพื่อลงทะเบียน สปส. 1-05 ระบบจะส่งแบบลงทะเบียน (สปส.