crone-corkill.com

แปรรูป ผัก ไชยา

Contraindication Rtpa ไทย

Thu, 24 Nov 2022 20:04:12 +0000

วัด HR, BP, N/S วัด ทุก15 นาที *4 ครั้ง, ทุก 30นาที*2 ครั้งถ้าคงที่วัดทุก1 ชั่วโมง 3. Bleedig precaution 72ชั่วโมง เช่นการแปรงฟัน การดูดเสมหะ (ใช้แรงดันไม่เกิน80 มิลลิเมตรปรอท), หากมียาที่ต้องฉีดบริเวณผิวหนังหรือกล้ามเนื้อรายงานแพทย์ทราบ 4. ติดตามตรวจทางห้องปฏิบัติการตามการรักษา 5. วัดค่าaPTTT, PTให้ยา 4 ชั่วโมง อาการที่ต้องรายงานแพทย์: 1. ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะsustained VT, VF 2. BP < 90/60 mmHg หรือBP ต่ำกว่าของเดิม≥20 mmHg, HR<60 หรือ >100 ครั้ง/นาที, RR 30 ครั้ง/นาที 3. มีภาวะเลือดออก chest pain 5. อาการแพ้ยาเช่น ผื่น แน่นหน้าอก ateiet<100, 000 cell/ mm แนวทางปฏิบัติการเบิกจ่าย SK เพื่อทดแทนแก่ รพช 1. เมื่อมีการให้ยาSK ที่ รพช. ผู้ป่วยจะถูกส่งต่อมาที่โรงพยาบาลปัตตานี 2. พยาบาลER ร. พปัตตานี พิมพ์สติ๊กเกอร์ชื่อและ HN ผู้ป่วยพร้อมทั้งเขียนข้อความ "SK" และระบุชื่อโรงพยาบาลที่ส่งต่อผู้ป่วยมา แล้วมอบให้เจ้าหน้าที่ รพช. นำไปเบิกยาที่ห้องยาผู้ป่วยนอก 3. เจ้าหน้าที่ รพช. นำสติ๊กเกอร์ในข้อ 2 พร้อมกระติกน้ำแข็ง มาเบิกยาที่ห้องยาผู้ป่วยนอก 4. เภสัชกรตรวจสอบประวัติการใช้ยาSK –ของผู้ป่วยในระบบHos-xp หากพบว่าผู้ป่วยเคยให้ SK ภายใน 1-2ปี รายงานแพทย์ทราบเพื่อเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์ท่อาจเกิดขึ้น 5.

Meaning

เภสัชกรจ่ายยา SK โดยวางบนน้ำแข็งเพื่อป้องกันไม่ให้ยาอยู่ที่อุณหภูมิต่ำกว่า 2 องศาเซลเซียส การเก็บรักษา SK (2-25 องศา) 1. ระหว่างนำส่งจากโรงพยาบาลปัตตานีไป รพช. ต้องเก็บยาใส่กระติกน้ำแข็งตลอดเวลา โดยวงยาบนน้ำแข็งเพื่อป้องกันไม่ให้ยาอยู่ที่อุณหภูมิต่ำกว่า2 องศา 2. เก็บยาในตู้เย็นช่องธรรมดา โดยใส่กล่องแยกจากยาอื่นๆและมีป้ายระบุชื่อยาติดที่หน้ากล่องให้ชัดเจนนอกจากนี้ควรระบุวันหมดอายุของานี้หน้ากล่องเก็บยาเพื่อให้ง่ายต่อการตรวจสอบ

contraindication rtpa ไทย
  1. มาตรฐาน iso 14001 pdf to jpg
  2. Contraindication rtpa ไทย
  3. Ikea ออนไลน์ pantip sofa
  4. รอเสมอ - กิ๊ฟเห็ด | จันทร์จรา - YouTube
  5. Wella oil reflections ราคา ตารางผ่อน
  6. แบบ ทดสอบ nt ป 3 2564 พร้อมเฉลย
  7. Contraindication rtpa ไทย voathai.com
  8. รถ กระบะ ตอน เดียว มือ สอง มี หลังคา
  9. Cerebral vasospasm อาการ in cats
contraindication rtpa ไทย meaning

การใช้ ยาละลายลิ่มเลือด Streptokinase (SK) - GotoKnow

ซักประวัติและตรวจร่างกาย -ซักประวัติข้อบ่งชี้ในการให้ยาSK -ซักประวัติเกี่ยวกับข้อห้ามและข้อควรระวังในการให้ยาSK -ตรวจร่างกาย 2. แพทย์/พยาบาลให้ข้อมูลผู้ป่วย/ญาติ เกี่ยวกับเหตุผลความจำเป็นและภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นจากยาและให้ลงนามยินยอมรักษา 3. เจาะเลือดหรือติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่สำคัญ เช่น CBC, aPTT, PT, HCT, INR, Eleatrolyte, Cr, Cardiac enzyme เป็นต้น การวัด aPTT, PT(วัดค่า thrombin time, Aptt, PT ก่อนเริ่มการรักษาและหลังการให้ยา4 ชั่วโมงรวมถึง hematecrit และ plateiet count เพื่อเฝ้าระวังพิษจากยา) 4. เปิดเส้นเลือดดำส่วนปลายไว้ 2เส้นเพื่อแยกยา SK ออกจากยาและสารน้ำอื่นๆที่ให้ทางเส้นเลือดดำ(กรณีที่ไม่ได้ให้น้ำอื่นๆให้ on heparin lock ไว้) 5. ถ้าประเมินแล้วพบว่าต้องใส่ Invasive procedure ควรใส่ก่อนที่จะให้ยา SK เพื่อป้องกัน bleeding 6. เตรียมรถ Emargency และอุปกรณ์ช่วยชีวิต รวมทั้งเครื่องDefibrillator ให้พร้อมใช้ 7. วัดสัญญาณชีพ: V/S, N/S 8. วัดPain score 9. ติดตามคลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างต่อเนื่องทำ Complete lead ECG ก่อนการให้ยาเพื่อไว้เปรียบเทียบภายหลังการให้ยา 10. เตรียมยา 1.

วัด HR, BP Heart rate, -BP วัด ทุก15 นาที *4 ครั้ง, ทุก 30นาที*2 ครั้ง ต่อในทุก1-2 ชม ต่อเนื่อง 48 ชม(อาจเกิดภาวะ hypotension จากการขยายตัวของหลอดเลือด) 2. วัด Neuro sign (N/S) -วัด ทุก15 นาที *4 ครั้ง, ทุก 30นาที*2 ครั้ง ต่อในทุก1-2 ชม ต่อเนื่อง 48 ชม เพื่อประเมินระดับความรู้สึกตัวและอาการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาท(อาจเกิดภาวะเลือดออกในสมองจากการแตกของเลือดในสมอง) 3. ติดตามลักษณะคลื่นไฟฟ้าหัวใจ อาจเกิดVT, VF จากหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ 4. Bleedig: อาการแสดงของภาวะเลือดออก เช่นตำแหน่งที่ทำหัตถการในระบบปัสสาวะ ทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจ รอยช้ำตามตัวทุก 15นาที ใน1ชม แรกที่ให้ 5. สังเกตอาการแพ้ยาใน 1 ชม แรกของการให้ยา เช่น ผื่น แน่นหน้าอก 6. ประเมินอาการเจ็บหน้าอกPain score 7. ดูให้ absolute bed rest 8. บันทึกเวลาที่เริ่มให้ยา อาการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นระหว่างที่ได้รับยาและหากจำเป็นต้องหยุดยาต้องบันทึกปริมาณที่ได้รับและเวลาที่หยุดย 1. ประเมินว่ามี reperfusion ของหลอดเลือดหรือไม่โดยผู้ป่วยไม่มีอาการเจ็บหน้าอก -ทำEKG 12 lead ที่ 60-90นาที หลังจากเริ่มให้ยา พบว่า S-T segment ยกลดลงจากเดิมก่อนการให้ยาอย่างน้อย50% 2.

2 mv (2mm) ใน Lead V. 1 V2 หรือ V3 2. 2 New LBBB (Left bundle branch block) 2. 3 มี LBBB อยู่ก่อนแล้วเกิดข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้ -ST elevation > 0. 5 mv (5mm)ในทิศทางตรงกันข้าม QRS complex -ST elevation 0. 1 mv (1mm)ในทิศทางเดียวกับ QRS complex -ST elevation 0.

มีประวัติเป็นHemorrhagic Stroke 2. มีประวัติเป็นnon hemorrhagic stroke ใน3เดือน 3. สงสัยหรือตรวจพบ intracranial ncoplasm Arteriovenous malformation หรือrecent (ภายใน2-4 wk) internal bleeding (ไม่รวมประจำเดือน) 5. สงสัยมี Aortic dissection, Significant Closed head หรือ facial trama ใน3 เดือนที่ผ่านมา tolic> 180 mmHg หรือ Diatolic >110 mmHg เมื่อแรกรับและควบคุมไม่ได้ 2. โรคหลอดเลือดสมองที่ไม่ทราบชนิดแน่ชัดหรือโรคของเนื้องอก 3. ใช้anticoagulant และมี INR >2-3 หรือมีภาวะเลือดออกง่าย 4. มีประวัติ severe injury ภายใน 2-4 wk. (internal bleeding) 5. มีประวัติ CPR มากกว่า 10นาที หรือจนเกิด trama รุนแรง 6. มี major surgery ภายใน 3 wk มีประวัติเลือดหยุดยาก 7. ตั้งครรภ์ peptic ulcer มีเลือดออกรุนแรง 9. เคยได้รับSK ภายใน 2 ปี หรือมีประวัติแพ้ยา ระบบป้องกันการได้รับ SK ซ้ำภายใน 1-2 ปี โรงพยาบาลปัตตานี 1. อธิบายให้ผู้ป่วยทราบว่าไม่ควรได้ยา SK ซ้ำภายใน 1-2 ปี 2. ออกบัตร SK ซึ่งระบุวันที่ใช้ยาให้กับผู้ป่วย 3. ติดสติ๊กเกอร์ระบุวันที่ใช้ยาในOPD card 4. ทำ pap-up เตือนใน HOS-xp Drug Interaction ขณะให้ยาลิ่มเลือดไม่ควรให้ยาอื่นร่วมด้วย Heparin:หากผู้ป่วยได้ heparin อยู่ก่อนแล้วค่า thrombin time ไม่ควรสูงกว่า 2 เท่า ของค่าปกติก่อนเริ่มการรักษาด้วย SK Warfarin: ห้ามใช้ SK ในผู้ที่ INR>1.

การพัฒนาระบบการจัดบริการผู้ป่วย ในโรงพยาบาลชุมชน. ตาม Service Plan จังหวัดปัตตานี การใช้ ยาละลายลิ่มเลือด Streptokinase ( SK) 1, 5000, 000 ยูนิต/vial (1. 5 MU/ vail) เก็บที่อุณหภูมิ 2-25 องศาเซลเซียส (ตู้เย็น) ข้อบ่งใช้: ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (STME) รักษาภาวะลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือด, ภาวะหลอดเลือดในปอดอุดตันเฉียบพลัน ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน มี 2 ชนิด elevevation MI ( STMEMI) หลอดเลือดอุดตัน 100% ST elevation MI (NSTEMI) หลอดเลือดตีบรุนแรง ประโยชน์การรักษาการใช้ยาละลายลิ่มเลือด 1. ช่วยลดกล้ามเนื้อหัวใจตาย ( limit infarct size) 2. ช่วยให้ประสิทธิภาพการบีบตัวของหัวใจดีขึ้น ( improve Left Ventricular function) 3. ลดอัตราตาย ในผู้ป่วยSTEMI ที่ได้รับการรักษาสามารถลดอัตราตายลง 20-50% ประโยชน์ของการรักษาที่ได้รับมากที่สุดคือ ภายใน1-3 ชั่วโมงของ onset ของchest pain ข้อบ่งชี้ Streptokinase ( SK) ( จาก ( โรงพยาบาลแม่ข่าย) รพ. ปัตตานี 1. มีอาการ angina cheat pain อย่างน้อย –30 นาที ไม่เกิน 12 ชั่วโมง พบมีข้อใด ข้อหนึ่ง 2. 1 ST elevation ≥0. 1 mv (1 mm) ใน 2 leads ที่อยู่ติดกัน หรืออย่างน้อย 0.